ความขัดแย้งครั้งหนึ่งในโรตารี
The problem seems to have started in Spain in 1928 when a bishop laid charges that Rotary was nothing but a new Satanic organization. The church also criticized and condemned Rotary for showing a concept of life of service without reference to church teaching. Indeed, it seems that the church believed it was a secret society with quasi-religious overtones. For whatever reason, the Vatican took up the reins and in 1929 it issued a decree that “it is not expedient” for Catholic priest to participate in Rotary either as members or guest. This decree and its application was worrisome to many Catholics in Rotary not the least of which was then RI President Tom Sutton who was himself a Catholic.Critical and at times disparaging articles regularly appeared in Catholic newspapers. Sutton’s attempts to convince the Secretary of State at the Vatican were fruitless and the anti-Rotary articles continued to be published.
ปัญหาคงเกิดขึ้นในสเปนเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ บิชชอบประกาศว่าโรตารีเป็นองค์กรซาตาน โบสถ์วิจารณ์และประนามโรตารีว่าแสดงออกซึ่งแนวความคิดด้านการใช้ชีวิตเพื่อการบำเพ็ญประโยชน์โดยไม่ยึดคำสอนจากโบสถ์ ความจริงก็คือโบสถ์ฝังใจว่าโรตารีคือองค์กรลับที่มีความเกี่ยวข้องลัทธิทางศาสนาด้วย แต่ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอย่างไรวาติกันเข้ามาเกี่ยวพันกับเรื่องนี้โดยออกคำสั่งว่า "มันเป็นการไม่บังควร" ที่พระในคริสต์นิกายแคธอลิกจะมีส่วนร่วมกับโรตารีไม่ว่าจะเป็นการร่วมเป็นสมาชิกหรือแขกรับเชิญ คำสั่งนี้ได้สร้างความหวั่นไหวแก่ชาวแคธอลิกที่เป็นสมาชิกโรตารีอยู่ รวมทั้งประธานโรตารีสากลทอม ซัตตัน เสียงวิพากษ์วิจารณ์และถ้อยคำเหยียดหยามเกิดขึ้นตลอดในหนังสือพิมพ์ชาวแคธอลิก ซัตตันพยายามที่จะทำความเข้าใจผ่านรัฐมนตรีต่างประเทศของนครวาติกันแต่ก็ไร้ผล บทความต่อต้านโรตารียังคงมีอยู่ตลอด ต่อมาข้อมูลเท็จต่าง ๆ ได้รับการพิสูจน์ว่าไม่จริง จนกระทั่งกระแสต่อต้านจากวาติกันถูกเปลี่ยนกลับในปี พ.ศ.๒๔๗๖ และพระแคธอลิกได้รับอนุญาตให้ใช้วิจารณญานของตนเองในการร่วมกิจกรรมกับโรตารี กระนั้นก็ตาม ผลที่ตามมาจากการทัศนคติของโบสถ์ที่เป็นอยู่ ก็คือพัฒนาการขององค์กรโรตารีในประเทศที่เป็นแคธิลิกก็ค่อย ๆ ลดลง เช่นที่ไอร์แลนด์
สันติภาพที่ไม่ราบรื่นยังคงมีอยู่จนมาถึงปี พ.ศ.๒๔๙๔ เมื่อวาติกันออกคำสั่งอีกครั้งว่าพระในแคธอริกไม่ควรร่วมโรตารีและควรระมัดระวังความน่าเคลือบแครงและพยายามปลุกปั่นของโรตารี แต่เวลานั้นโลกเปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว คำสั่งดังกล่าวจึงสร้างความขุ่นเคือง ในจำนวนนี้มีประธานโรตารีสากลอาร์เธอร์ แลคเคอร์ซ์ และยิ่งกว่านั้นเจ้าคณะบาทหลวงแคธอลิกแห่งฟอร์ทเวน รัฐอินเดียนนาที่เป็นโรแทเรียนด้วยก็แสดงความไม่พอใจต่อคำสั่งถึงกับกล่าวว่า นั่นเป็นคำสั่งที่ "ไม่สามารถเข้าใจได้" ไม่นานนักวาติกันเพิ่มตอบรับความไม่พอใจนี้ และตอนสิ้นทศวรรษ ค.ศ.๑๙๕๐ นั้นเอง สมาคมสัจธรรมแคธอริกจึงออกมาประกาศว่าโรตารีนั้นไม่ใช่ทั้งขบวนการที่มีความเคลือบแครงหรือปลุกปั่น ความสัมพันธ์ระหว่างโบสถ์กับโรตารีจึงค่อย ๆ เริ่มเป็นมิตรมากขึ้น ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ โป๊ปพีอุสที่ ๖ ได้แสดงปาฐกถาแก่โรแทเรียนในอิตาลีและ ปี พ.ศ.๒๕๒๒ โป๊ปจอห์น พอล ที่ ๒ ได้แสดงปฐกถาที่ประชุมใหญ่โรตารีสากล ณ กรุงโรม เชิดชูโครงการเพื่อมนุษยธรรมของโรตารีที่มีอยู่มากมาย ต่อมาโป๊ปจอห์น พอลที่ ๒ ได้รับเข็มพอลแฮร์รีสเฟลโลว์ และรางวัลสันติภาพและความเข้าใจอันดีระหว่างกันในโลกจากโรตารี
ล่าสุด ก่อนรับตำแหน่งสังฆราชในศาสนาคริสต์ของโป๊ป ฟราสซิส ในตอนที่ยังเป็นพระคาร์ดินัลจอร์จ เบอร์กอกลิโอ ท่านได้เข้ารับการประดับเข็มเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์สโมสรโรตารีบัวโนส ไอเรส.
Catholicism and Rotary
The problem seems to have started in Spain in 1928 when a bishop laid charges that Rotary was nothing but a new Satanic organization. The church also criticized and condemned Rotary for showing a concept of life of service without reference to church teaching. Indeed, it seems that the church believed it was a secret society with quasi-religious overtones. For whatever reason, the Vatican took up the reins and in 1929 it issued a decree that “it is not expedient” for Catholic priest to participate in Rotary either as members or guest. This decree and its application was worrisome to many Catholics in Rotary not the least of which was then RI President Tom Sutton who was himself a Catholic.Critical and at times disparaging articles regularly appeared in Catholic newspapers. Sutton’s attempts to convince the Secretary of State at the Vatican were fruitless and the anti-Rotary articles continued to be published.
The factual errors were shown to be false and by 1933 there was a mood swing in the Vatican. Priests were now allowed to use their discretion about attending or even joining Rotary. Nevertheless, one of the results of the church attitude was a slow development of Rotary in predominantly Catholic countries such as Ireland.
The uneasy peace continued until 1951 when yet another Vatican decree warned Priests that they should not join Rotary and that the faithful should be aware of seditious and suspected organizations.
But the world was changing and the decree caused an immediate angry response among others, from the then-Catholic and RI President Arthur Laqueux, and even from the Rotarian, Catholic Bishop of Fort Wayne Indiana who publicly declared the decree “quite incomprehensible.”
Fairly soon, the Vatican begin to react and by the end of the decade, the Catholic Truth Society was able to declare that Rotary is neither secret nor seditious. Gradually there was a thaw in the relationship between the church and Rotary. In 1970 Pope Pius VI addressed Rotarians in Italy and in 1979 Pope John Paul II spoke at the Rotary International convention in Rome praising many of Rotary’s humanitarian programs. Later, Pope John Paul II accepted a Paul Harris Fellowship and a World Understanding and Peace award from Rotary.
Finally, before becoming Pope Francis, then-Cardinal Jorge Bergoglio accepted an honorary membership in the Rotary Club of Buenos Aires.
Source: Rotary Club of Eureka, http://rotary1.org/10-catholicism-and-rotary/
Source: Rotary Club of Eureka, http://rotary1.org/10-catholicism-and-rotary/