มีโรแทเรียนมากมายหลายท่านที่มี ความสามารถและมีชื่อเสียงในระดั บประเทศ หรือระหว่างประเทศ แต่มีน้อยคนนักที่เขียนหนังสือ. .
โรแทเรียน ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์แห่งสโมสรโรตารีกรุ งเทพ ภาค3350 เขียนหนังสือที่นักธุรกิจน้ อยคนจะเขียนได้ แม้เรื่องที่เขียนจะใกล้ตั วและขาดไม่ได้สำหรับผู้นำในยุ คปัจจุบัน “Creativity GYM for Innovative Leaders” เป็นผลงานอีกชิ้นหนึ่ งของโรแทเรียน ดร. เพาฟเลอร์ ที่เน้นการนำเอาหลักการง่าย ๆ ในการคิดสร้างสรรค์ไปใช้ในทุก ๆ เรื่องของชีวิต บทสัมภาษณ์นี้ เชื่อว่ามีคุณค่ากับโรแทเรียนทุ กท่าน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งกั บประธานประชาสัมพันธ์ของทุ กสโมสร.
Author of "CREATIVITY GYM for Innovative Leaders" Dr. Alexander Paufler |
DPR: ทั้ง ๆ ที่มีงานในหน้าที่ความเป็นผู้ นำในภารกิจทางธุรกิจ อะไรเป็นแรงบันดาลให้ท่านเขี ยนหนังสือเล่มนี้
AP: มีเหตุผลสองประการที่ผลักดันให้ ผมต้องการนั่งเขียนหนังสืออี กหนึ่งเล่ม และต้องคอยทำตามขั้นตอนการเขี ยนต่าง ๆ เช่นการร่างต้นฉบับ อ่านตรวจทาน และอ่านต้นฉบับครั้งแล้วครั้ งเล่า
ประการที่หนึ่ง ผมทำตามหนึ่งในแปดข้อของส่ วนผสมสำคัญของการจัดการการเปลี่ ยนแปลงในเรื่องความคิดสร้ างสรรค์ หลายปีที่ผ่านมานี้ผมเรียนรู้ว่ าความคิดสร้างสรรค์เป็นหั วใจสำคัญของทุก ๆ เรื่องที่เราปฏิบัติ และเป็นสิ่งจำเป็นที่เราต้องเรี ยนรู้ ผมถึงได้ออกแบบชุดเตรียมความพร้ อม เพื่อให้ผู้นำที่ดี สามารถนำไปใช้ให้ติดเป็นนิสัย
ประการที่สอง ตอนที่ผมเดินทางเข้ ามาประเทศไทยนั้นเป็นช่วงวิกฤติ การณ์ซับไพร์ม ผมไม่ได้นำพาบริษัทฝ่าฟันวิกฤติ นั้นตรง ๆ เพราะผมใส่ใจกับการสำรวจความคิ ดที่สนับสนุนการทำให้เกิดรายได้ เป็นลำดับแรก เป้าหมายของผมคือหลีกเลี่ ยงการคัดคนออก เพราะนั่นเป็นเพียงหนทางที่ จะทำให้คนเก่ง ๆ ของเราต้องลดลงและมีผลกระทบกั บครอบครัวของเขาด้วย นั่นก็นำมาสู่คำถามว่า ผมจะจ้างพนังกงานทุกคนให้อยู่ต่ อไปได้อย่างไร โดยแลกเปลี่ยนกับการดึงความคิ ดของเขาออกมาและเปลี่ยนมันเป็ นคำปรึกษาที่สร้างสรรค์ มันสมองมนุษย์เป็นเหมื องทองของบริษัท และความคิดต่าง ๆ คือหัวใจสำคัญที่จะทำให้บริษั ทอยู่รอดได้ในสภาพตลอดที่เปลี่ ยนแปลงรวดเร็วและมีความไม่แน่ นอนสูงเช่นในปัจจุบัน สภาพเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ายที่เกิ ดจากการแข่งขันหำ้หั่นกันของคู่ แข่งขัน ความไม่เดียงสาและขาดความรับผิ ดชอบทำให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้ นรวดเร็วเหลือเกิน ดังนั้นทางรอดทางเดียวที่ยั่ งยืนคือการหาทางออกโดยใช้ความคิ ดสร้างสรรค์ของผู้บริหารสูงสุ ดขององค์กรและทีมงานของเขา
DPR : มีความเชื่อกันว่ าการทำงานของโรตารีนั้นเป็ นแบบอนุรักษ์นิยมและมี การวางแผนจากส่วนกลาง ท่านจะแนะนำให้โรแทเรียนประยุ กต์ความคิดสร้างสรรค์ ในการทำงานโรตารีอย่างไร
AP: ความคิดสร้างสรรค์เป็นเรื่องสนุ ก เพราะฉะนั้นมันเหมือนเป็นออกซิ เจนให้กับการทำงานบริหาร ซึ่งนับรวมถึงองค์กรที่เป็ นแนวอนุรักษ์นิยมด้วย เราต้องทำให้สมาชิกในองค์กรรู้ สึกสนุกกับความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อความยั่งยืนขององค์กร โรตารีเป็นองค์กรที่ ประสบความสำเร็จด้วยสมาชิกที่ มากว่าหนึ่งล้านสองแสนคน ที่เป็นผู้นำนักธุรกิจและเจ้ าหน้าที่ระดับสูงที่มีอยู่ในทุ กชุมชนทั่วโลก มีสโมสรโรตารีอยู่มากกว่า 33,000 แห่งใน 200 ประเทศและพื้นที่ภูมิศาสตร์ ต้องนับว่าเป็นความสำเร็จที่ยิ ่งใหญ่นี้เกิดจากพื้ นฐานของการทำงานกันอย่างหนั กของคนที่มีจิตอาสา "ไม่มีความล้มเหลวอะไรยิ่ งไปกว่าการยึดติดความสำเร็จ" ประโยคอมตะที่เตือนสติได้ดีนี้ กล่าวโดยนักประวัติศาสตร์อาร์ โนลด์ทอยน์บีซึ่งได้ศึ กษาประเทศและองค์กรที่ล้มเหลว ปรากฎการณ์เช่นนี้ทำให้ผู้ นำโรตารีทั้งหลายต้องหันมาให้ ความสำคัญกับการคิดอย่างสร้ างสรรค์และยอมรับนวัตกรรมใหม่ ๆ ก่อนที่สโมสรจะพบกับความตกต่ ำและต้องใช้ยาขนานหนั กและแรงในการบำบัดรักษา กาลเวลาเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ เราก็ต้องเปลี่ยนด้วย การเปลี่ยนแปลงหมายถึงการสร้ างนวัตกรรมสด ๆ ใหม่ ๆ หนังสือที่ผมเขียนนั้นช่วยไม่ ให้ผู้อ่านมองข้ามความคิดสร้ างสรรค์ดี ๆ ไป ช่วยให้ท่านรู้ว่าจะหาความคิ ดสร้างสรรค์ได้จากที่ ไหนและจะเอาไปใช้อย่างไร หนังสือยังระบุเส้นเริ่มต้ นของการคิดอย่างสร้างสรรค์ ปรับความคิดที่เป็นประโยชน์ให้ เป็นนวัตกรรม และอีกทั้งยังช่วยการทำงานของผู ้ประกอบการธุรกิจด้วย.
DPR: จำเป็นเสมอไปหรือไม่ที่ความคิ ดใหม่ต้องฆ่า (เพื่อเข้าแทนที่) ความคิดเดิม
AP: ความคิดใหม่ ๆ หล่อเลี้ยงสถานภาพปัจจุบัน ความคิดใหม่ ๆ ช่วยปรับสภาพของความคิดปัจจุบัน และใช่ครับ บางทีมันก็ฆ่าความคิดเก่าที่ล้ าสมัย นี่คือเหตุผลที่ทำให้ เราสามารถผ่านวิกฤติต้มยำกุ้งปี 2540 ความล่มสลายธุรกิจดอทคอมในปี 2544 เหตุการณ์ซับไพร์มที่อื้ อฉาวระดับโลกในปี 2551 ที่ส่งผลให้เกิดวิกฤติ การทางการเงินโลก เราต้องจัดการกับวิกฤติด้ วยความคิดใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นเหมาะเจาะกับเวลา วิกฤติการณ์เหล่านี้เกิดขึ้ นจากปัญหาความชั่วร้ายที่เราไม่ อาจมองเห็นวี่แววว่าจะเป็นปั ญหาร้ายแรง แต่บางครั้งเราอาจมองเห็นสั ญญานของปัญหาแต่รีรอที่จะจั ดการเปลี่ยนแปลง หรือคุณอาจหาจังหวะที่ เหมาะสมอยู่ เพราะฉะนั้นการเตรียมตัวรั บสถานการณ์วิกฤติครั้งใหม่และฝึ กความสามารถในการปรับตัวจึงมี ความจำเป็น เมื่อวิกฤติการณ์เกิดขึ้น ดีที่สุดคือการยอมรับในสิ่งที่ ผมขอยกคำพูดของผู้กำกับภาพยนต์ โจเซฟ แมนคีวิคซ์ ที่ว่า "ความแตกต่างระหว่างหนังกับชีวิ ตจริง คือในภาพยนต์เรามีบทที่เขียนขึ้ นตามหลักเหตุผล แต่ในชีวิตจริงนั้นมันไม่ใช่" การเตรียมความพร้อมที่เหนือชั้ นนั้น ความล้ำลึกของอัลเบิร์ต ไอสไตน์เป็นสิ่งที่น่าเอาอย่าง เพราะท่านให้คำแนะนไว้ว่า "ปัญหาสำคัญ ๆ ที่เราประสบนั้นไม่อาจจะแก้ ไขได้ด้วยระดับความคิดปกติเหมื อนตอนที่เราทำให้ปัญหานั้น ๆ เกิดขึ้น" การฝึกฝนและการเตรียมพร้อมจะช่ วยให้เราสามารถสร้างความคิ ดในระดับใหม่ และสามารถประดิษฐ์เครื่องมื อใหม่ ๆ เพื่อใช้เป็นวิธีการแก้ไขปั ญหาแบบใหม่ ๆ ด้วย
DPR : อะไรทำให้งานที่เกิดจากความคิ ดสร้างสรรค์หรือความคิดใหม่ ๆ ล้มเหลว
AP: เพราะยึดแนวทางความสำเร็จแบบเก่ า ๆ มากเกินไป ตกหลุมพรางของมุมมองปัญหาแบบเก่ า ๆ ประมาท และขาดสำนึกในความเร่งด่วน
DPR: ในขณะที่ท่านเผยแพร่หลั กการและวิธีปฏิบัติในหนังสือ Creativity GYM นั้นท่านแบ่งงานธุรกิจและชีวิ ตส่วนตัวแบบสร้างสรรค์ได้อย่ างไร
AP: แม้ช่องว่างที่อยู่ระหว่างธุรกิ จและครอบครัวจะหาไม่ได้ก็ตาม ผมก็ยังมีเวลาใช้ความคิดที่เป็ นไปตามหลักการ 27 ข้อของการคิดสร้างสรรค์ตามที่ เขียนในหนังสือเล่มนี้ ด้วยเหตุที่ผมเป็นคนตื่นเช้า ผมมักใช้เวลาระหว่าง 5-11 นาฬิกาเป็นเวลาแห่งความคิด และใช้เวลาช่วงบ่ายจนถึง 6 โมงเย็นเป็นเวลาแห่งการปฏิบัติ งาน ในช่วงแห่งเวลาใช้ความคิดผมมั กจะแยกตัวเองออกจากทุกสิ่งทุ กอย่างและเพ่งคิดในงานสร้ างสรรค์ เช่น การเขียนหนังสือ เตรียมหัวข้อบรรยาย เตรียมสุนทรพจน์และคิดแก้ไขปั ญหาที่ซับซ้อน สิ่งรบกวนที่อาจเกิดขึ้นจากอิ นเตอร์เน็ต โทรศัพท์ ทีวี แอปส์ต่าง ๆ และของเล่นดิจิตอลต่าง ๆ จะต้องปิดทิ้ง มีผลงานวิจัยที่ระบุว่ามนุษย์ เรามักถูกรบกวนจากสิ่งรอบข้างทุ ก ๆ 3.5 นาที และเราจะต้องใช้เวลารวบรวมสมาธิ เพื่อกลับไปทำงานคิดได้เหมื อนเดิมอีกถึง 27 นาที ด้วยเหตุนี้ผมจึงต้องปิดเครื่ องมือสื่อสารทุกชนิดก่อนที่จะนั ่งอ่านหนังสือ คิดหรือเขียนงานต่าง ๆ การปิดเครื่องเหล่านั้นหมายถึ งการได้พักผ่อน การสื่อสาร การรับฟัง และการมีสมดุลในชีวิต คุณต้องหยุดการหลั่งไหลเข้ ามาอย่างไม่ยอมหยุดของของเล่นสื ่อสารและโทรศัพท์
DPR: คุณจะบอกเพื่อนโรแทเรียนให้มีชี วิตแบบสร้างสรรค์ได้อย่างไร
AP: ผมก็จะบอกเรื่องที่ตอบคำถามคุ ณไปก่อนหน้านี้ 5 ข้อ และถ้าจะให้ชัดขึ้นก็สามารถอ่ านได้จากหนังสือที่ผมเขียน ซึ่งเป็นการรวบรวมความคิ ดของคนอื่น ๆ อีกกว่า 800 คน ทุกอย่างเรียนรู้ได้และทำให้ เป็นจริงได้ แต่ทุกคนต้องเชื่อและยอมรับว่ าการเรียนรู้เรื่องความคิดสร้ างสรรค์นั้นเป็นความคิดที่ดีที่ ควรลงทุน แน่นอนว่าทุกคนชอบความคิดดี ๆ และยิ่งกว่านั้นพวกเราชอบการค้ นพบความคิดใหม่ ๆ ผมอยากพูดว่าความคิดสร้างสรรค์ นั้นถูกสร้างบนพื้ นฐานของความอยากรู้อยากเห็น ความคิดสร้างสรรค์ จากความอยากรู้อยากเห็นนั้นเป็ นหนทางแห่งการสร้างความพึ งพอใจให้กับตัวเอง ยิ่งไปกว่านั้นผมยังเชื่อในสิ่ งที่ ลีโอ เอฟ. บุสคาเกลีย ที่พูดว่า "คนที่มีความสุขที่สุดคือคนที่ รักสิ่งต่าง ๆ อย่างคลั่งไคล้ จริงจัง" คนที่มีความสุขคือคนที่มีมุ มมองกว้างขวางกว่าคนที่ฉลาดซึ่ งมักสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งเท่ านั้น แต่ความสุขที่แท้นั้นต้องมี ความหลากหลายให้เลือกได้.
------------------------------
ขณะนี้หนังสือมีจำหน่ายเป็ นภาษาอังกฤษทั้งในร้านหนังสือชั ้ นนำในประเทศไทยและในระบบออนไลน์ ของอเมซอนดอทคอม.
สำหรับภาษาไทย จัดพิมพ์โดยนานมีบุ๊คส์ มีจำหน่ายแล้วตั้งแต่เดือนพฤศจิ กายน ๒๕๕๖
อีกไม่นานภาคภาษาจีนแบบจีนอั กษรโบราณและแบบอักษรรุ่นใหม่ จัดพิมพ์โดย วู่หนานบุ๊ค อิงค์ เลขที่ 106 ไทเป ประเทศไต้หวัน
ประวัติ :
การเดินทางรอบโลกเป็นประสบการณ์ ที่เกิดกับ ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ตั้งแต่ยังเด็กเล็ก ๆ อยู่ เขาต้องจากบ้านเกิดที่บ๊าดเฮอร์ เฟลด์โต เทอบิงเจน ประเทศเยอรมันนีเพราะต้องติ ดตามบิดาที่ต้องย้ายไปตามงาน ไปถึงเมื องโคโมแถบทะเลสาบโคโมในประเทศอิ ตาลี ต่อไปยังดูสเซลดอร์ฟ และที่อื่น ๆ เขาศึกษาเศรษฐศาสตร์และการบริ หารธุรกิจจากหลายมหาวิทยาลัย ได้แก่เทอบิงเจน ซาร์เบริกเคน และดัลส์เบิร์ก จบการศึกษาเขาได้รับปริญญาโทเอ็ มบีเอ และปริญญาเอก ในตอนหลังเมื่อทำงานแล้ว เขายังสอบเพื่อเป็นที่ปรึ กษากฎหมายภาษีรับอนุญาตอีกด้วย.
การทำงานเป็นที่ปรึกษาภาษี และการเขียนหนังสือกฎหมายภาษี ประเทศญี่ปุ่นของ ดร. เพาฟเลอร์ ส่งผลให้เขาเดินทางไปประเทศญี่ ปุ่นในปี พ.ศ.2530 และได้เริ่มงานในภาคปฏิบัติอย่ างเป็นทางการกับเมอร์ซิเดซเบนซ์ ประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ.2533 ในตำแหน่ง ซีเอฟโอ/ซีไอโอ (เจ้าหน้าที่การเงินสูงสุด / เจ้าหน้าสารสนเทศสูงสุด) และเมื่อเดมเลอร์เข้าร่วมทุนกั บมิตซูบิชิมอร์เตอร์ เขาได้รับตำแหน่งเจ้าหน้าบริ หารอาวุโส (ฝ่ายการเงินและภาษี) และหลังจากที่กับเข้าร่วมงานกั บเมอร์ซิเดซเบนซ์ในปีตำแหน่งซี อีโอประจำกรีซระหว่างปี พ.ศ.2547-2551 จึงเป็นเหตุให้เขาได้รับความไว้ วางใจให้เข้าดูแลกิจการของบริษั ทนี้ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 เป็นต้นมา โรแทเรียนอเมล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์เป็นสมาชิกสโมสรโรตารี กรุงเทพ
(อนุเคราะห์ นำเสนอประวัติ ดร. เพาฟเลอร์ โดย อน. ลินดา เชง)
คิดเปลี่ยนคุณ โดย ดร.อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ |
"Creativity GYM for Innovative Leaders" seems to be more than a book written out of an individual's perception of long time experience in creativity works as a business leaders, readers will feel like reading a research in easy unofficial text. The book enlightens just anybody on how he / she can convert their daily life into creative living and productive work.
Q&A
1. Aside from busy works in your leading role in business,
what inspired you to write the book?
Two things were the main motivators for me to write again a book and undertake the long frustrating process to draft, write. edit and read again and again the script:
Firstly, as one of eight ingredients for change management I identified and use creativity. Over the years I learned to see that creativity is the key to everything we do and thus must be learned. I designed a preparation kit to make it a habit of a good leader.
Secondly, when I arrived in Thailand the recession resulting from subprime mortgage scandals hit. In order to steer the company through crisis my attention was on how to create and collect ideas supporting the revenue flow - the top line. My goal was to avoid headcount cut which only hit heads that count such as our employees and their families. That led to the question: How can I engage all employees, tap their brains and turn them into innovation consultants. Brains are the gold mines of the company and the ideas are key for the survival in today's fast and instable global markets. Ups and downs triggered by fierce competition, stupid mistakes and a lack of responsibility take turns faster and faster. Therefore, idea creation is a survival must for any CEO and his team in order to ensure sustainability.
2. It is said that Rotary is rather conservative and centrally planned, how do you suggest Rotarians can implement CREATIVITY in Rotary's work?
Creativity is fun and therefore oxygen for performance management. Even leaders of a conservative organization must engage its members to enjoy creativity and innovation for sustainability sake. Rotary is a successful organization of more than 1.2 Million business, professional and community leaders. There are 33,000 Rotary Clubs in more than 200 countries and geographical areas. That is a big success based on hard work and service mindedness. "Nothing fails like success when you rely on it too much" is a thought provoking line by the historian Arnold Toynbee studying failing countries and entities. This phenomenon must make all Rotary leaders think about creativity and innovation before the club goes into a downturn and needs a serious turnaround for rescue. Times are changing and so we have to do. Change means innovation with new and fresh ideas. The book helps avoiding idea killers, helps finding ideas and implementing ideas. The book shows a line starting at creativity for ideas, turning useful ideas into innovations and both enable entrepreneurship.
3. Is it necessarily so that the adoption of new ideas 'kill' (completely replace) the existing practices?
New ideas enrich a status quo, new ideas improve the status quo and yes new ideas may "kill" a situation which is out of date. Going through the Asian crisis (1997), the dot-com-crash (2001) and the subprime mortgage scandal (2008) triggered a global financial crisis we still try to fix. Rigorous new ideas are needed to manage global crisis. Such crisis is triggered by wicked problems you don't see coming or you may see the signs but you may procrastinate change and you cannot figure out the timing . Prepare for a new crisis and train the ability for adaptability. When crisis hits it is best to accept Joseph Mankiewicz' (
4. What makes the work of new ideas or creativity fail?
Relying on old success too much, getting stuck in old perceptions, complacency, lack of urgency.
In spite of seamless fusion between business and home I do have my thinking time following the 27 aspects for creativity described in the book. Since I am an early bird my thinking time is from 5-11am and my execution time in the afternoon up to 6pm. During think time I like to isolate myself and focus on creative tasks like writing a book, preparing lectures, speeches and think how to solve wicked problems. Distractions coming from internet, telephone, TV, apps and e-gadgets need to be shut down and closed out. Research found that we are distracted every 3,5 minutes and we need 27 minutes to get back into thinking mode. Therefore, I switch off gadgets and sit down to read, think and write. Switching off stands for relaxation, communication, listening and work life balance. Stop the negative spill over of non stop 'gadgeting' and 'phoning'.
6. How will you say to Rotarians to live a life creatively?
I said it with the answers to your five prior questions. My book shows the details, my ideas and the ideas of more than 800 people. All is learnable and doable, but everybody needs to be convinced and persuaded that it is a good idea to invest time in learning creativity. For sure everybody enjoys getting a good idea and even more so we enjoy realizing ideas. I also will say, that creativity is built on curiosity. Curious creativity is a very satisfying process. Furthermore, I strongly believe in Leo F. Buscaglia's saying, "that the happiest people are those who love many things with a passion - intensely. Happy people have a wider focus than geniuses who often are only concentrating on one thing, however, happiness comes with variety and choices.
______________________________ ______
- Currently, the book is available in English as paperback in Thailand and as ebook on Amazon.com
- The Thai language version has been published by Nanmee Books and released November 2013.
- Soon a Chinese language version will be available both in traditional and simplified Chinese
published by WU-NAN BOOK INC., 106 Taipeh, TAIWAN
Travelling the world started early for Dr. Alexander Paufler, bringing him from his native town Bad Hersfeldto Tuebingen, Germany and, because of his father’s job, on to Como on Lake Como (Italy), Duesseldorf, and more. Studying Economics & Business Administration brought him to German Universities in Tuebingen, Saarbruecken and Duisburg. On this journey he earned an MBA and PhD. Later in his professional career hepassed the exam for Certified Tax Consultant.
Dr. Paufler’s consulting job and his book about Japanese Taxation led him to Japan in 1987. In 1990 he turned to a more operational career as CFO/CIO with Mercedes-Benz Japan. Daimler’s joint venture with Mitsubishi Motors opened the opportunity as Senior Executive Officer (Head of Finance & Tax). His role as CEO of Mercedes-Benz Greece from 2004-2008 lead to the CEO position at Mercedes-Benz Thailand starting in 2009.
Dr. Alexander Paufler's passion for music and art began early. He started to play the piano at the age of 11 and started to paint seriously at 13 – please have a look at his website www. Alexander Paufler.com.
During his ten years working as a CPA and tax consultant he started to write articles for business journals. He published books about tax fraud, doing business and taxation in Japan, and change management with IT. His writing brought him to teaching. Regular lecturing at universities in Japan, Germany, Greece and Thailand earned him an Adjunct Professorship. His teaching scope in the field of Organizational Behaviour on ‘Change Management’, ‘Leadership’, ‘Branding’, ‘Business Ethics’ and ‘Music Business’ lead to the book ‘Creativity Gym’. He strongly believes that creativity is the key ingredient for innovative leaders coping with change.
All these activities shaped his career and created a unique work life balance. Dr. Alexander Paufler’s journey is another good example of what you can do by working out in the ‘Creativity Gym’."
Prof. Dr. Alexander Paufler currently teaches full time at the Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University and is frequently invited to address managements and hold workshops for various organizations in different countries.
(Introduction by Linda Cheng).
No comments:
Post a Comment