บริการอาชีพของโรตารี
โดย อดีตประธานโรตารีสากล ซากุจิ ทานากะ
กล่าวไว้ในการประชุมอบรมผู้ว่ าการภาคปี ๒๕๕๓
(ดัดแปรงเล็กน้อยเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน)
ทุกท่านต่างทราบดีว่าพันธกิ จของโรตารีสากลที่แก้ไขตามที่ คณะกรรมการอำนวยการโรตารีสากล ในเดือนมิถุนายน 2007 ระบุว่าภารกิจของโรตารีสากล "คือการให้บริการแก่ผู้อื่นเพื่ อส่งเสริมมาตรฐานทางจริยธรรมขั้ นสูงและจะก้าวล้ำในด้านความเข้ าใจอันดีระหว่างกันในโลก ไมตรีจิตมิตรภาพ และสันติสุขผ่านมิตรภาพทางธุรกิ จ วิชาชีพและผู้นำในชุมชน" และคำแถลงเกี่ยวกับบริการอาชี พระบุว่า "บริการอาชีพเป็นวิธีการที่ โรตารีส่งเสริม สนับสนุนและประยุกต์ปรั ชญาการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อบรรลุ ผลในการประกอบวิชาาชีพทั้งปวง"
อะไรคือวัตถุประสงค์ ของการดำรงชีวิตของมนุษย์ กล่าวอย่างง่ายตามความเชื่ อของข้าพเจ้าคือ "เพื่อทำประโยชน์ต่อผู้อื่ นและสังคม" ความจริงที่ว่าเราเป็นมนุษย์ที่ มีความสามารถที่จะดำเนินชีวิ ตอยู่ในสังคมที่พัฒนานับหลายร้ อยปีที่ผ่านมาเป็ นเพราะความพยายามของบรรพบุรุ ษของเรา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน ประเทศและผู้คนทั่วโลก จากนี้ไปก็เป็นหน้าที่ของเราที่ จะเคารพและชื่นชมผลประโยชน์ที่ เราได้รับจากปู่ย่าตายายของเรา ด้วยการดำรงไว้ซึ่งจิตวิ ญญาณและความจริงใจสูงสุดที่ จะปฏิบัติตนเพื่อการชำระคืนแก่ สังคมด้วยความบริสุทธิ์ใจ ด้วยทัศนคติเหล่านี้ เราสามารถสร้างสังคมที่ดีกว่ าสำหรับอนุชนรุ่นต่อ ๆ ไป
โรแทเรียนโชคดีที่เราอยู่ในตำแหน่งที่จะนำวิธี การในการฝึกความคิดของการให้บริ การวิชาชีพที่เป็นเอกลักษณ์ ของโรตารีไปปฏิบัติ สมาชิกสโมสรแห่งหนึ่งเคยบอกข้ าพเจ้าว่าเขาสามารถที่จะเข้ าใจความหมายที่แท้จริงของอาชี พหลังจากที่เขาเข้าร่วมกั บโรตารี ก่อนหน้าที่จะร่วมโรตารีเขาได้ มุ่งเน้นไปที่กิจกรรมทั้งหมดเพื่อตัวเอง เช่น ทำอย่างไรจึงจะปรับปรุงตั วเองให้ดีขึ้น สร้างรายได้ให้มากขึ้น แต่เดี๋ยวนี้แตกต่างกันออกไป การบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสั งคมได้กลายเป็นจุดประสงค์หลั กในชีวิตและอาชีพ ตอนนี้เขาพบความสุขในการทำเพื่ อคนอื่น เขามีความสุขที่ได้รับความไว้ วางใจผ่านการประกอบธุรกิจที่ซื่ อสัตย์ และเพิ่มความพยายามที่จะทำตั วให้เป็นประโยชน์กับคนอื่น ๆ ผ่านอาชีพของเขา
เรามีหน้าที่ในการปฏิบัติตามปรั ชญาการบำเพ็ญประโยชน์ รักษามาตรฐานจริยธรรมขั้นสู งไว้ และทำหน้าที่ของพลเมืองดีเพื่ อส่งเสริมจรรยาบรรณในอาชีพต่ อคนจำนวนมากที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ในทุกโอกาส วิธีที่ดีที่สุดที่จะได้รั บความไว้วางใจในฐานะคน ๆ หนึ่งและผู้ประกอบธุรกิจรายหนึ่ งคือการ "จริงใจกับคำพูดของเราเอง" การบูรณาการความมุ่งมั่ นและการกระทำที่เป็นหนึ่งเดียว ไม่ว่าในชีวิตส่วนตัวหรือในธุ รกิจ โรแทเรียนผู้ที่ผมเคารพมากได้ มอบคำขวัญที่กลายเป็นสิ่งเตื อนใจที่จะยับยั้ งเขาจากการกระทำโดยบางครั้งเป็ นไปโดยความประมาทเลินเล่อ แม้ว่าเขาจะรู้ถึงความถูกผิ ดก็ตาม คำขวัญของเขาคือ "ไม่ประมาทแม้เป็นเรื่องเล็กน้ อย จงเลือกเส้นทางที่ถูกต้องเสมอ" เงินไม่สามารถซื้อความไว้ วางใจได้ แต่เราสามารถหาเงินได้การใช้ชี วิตประจำวัน โดยตระหนักถึงความถูกผิด เขายังคงมีสัมมาสติอยู่ เสมอในเรื่องของวินัย ขอยกตัวอย่างที่ใกล้ชิดกับข้ าพเจ้าตัวอย่างหนึ่ง มันเกิดขึ้นในช่วงวิกฤตการณ์น้ ำมันในปี 1973 ในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ธุรกิ จหลายคนคิดว่าวิกฤตการณ์ทำให้มี โอกาสที่จะทำกำไรได้เป็ นจำนวนมาก มีอยุ่บริษัทหนึ่งสั่งให้พนั กงานของบริษัทขายสินค้าให้ได้ กำไรเท่ากับที่เคยได้มาก่อน นโยบายนี้ส่งผลให้ราคาของสินค้ าของบริษัทต่ำกว่าผู้อื่น และดึงดูดลูกค้าจำนวนมากมาขอซื้ อสินค้า อย่างไรก็ตามเนื่องจากปริ มาณของสินค้าที่มีจำกัดและเมื่อพิจารณาเพื่อความเป็นธรรม หลังจากที่ได้ทำความเข้าใจกับลู กค้า บริษัทใช้วิธีการจัดสรรจำนวนสิ นค้าให้กับลูกค้าแต่ ละรายตามประวัติความต้ องการของพวกเขาที่ผ่านมา หลายเดือนต่อมาวิกฤตลดลง การเน้นการจัดการธุรกิจบนพื้ นฐานของความซื่อสัตย์ของบริษัท มากกว่าการแสวงหาผลกำไรในระยะสั้นได้รับการชื่นชมอย่างมากจากลู กค้าและทำให้พวกเขาเห็นคุณค่าของบริษัทนี้
ห้างสรรพสินค้าในกรุงโตเกียวมี ร้านค้าปลีกเสื้อผ้ ามากมายหลายร้าน เจ้าของร้านแต่ละแห่งแข่งขันกั นในพื้นที่ขายชั้นเดียวกัน แต่มีอยู่ร้านหนึ่งที่ยึดมั่ นในปรัชญาการทำธุรกิจของตนเอง เมื่อร้านนั้นไม่มีของที่ลูกค้ ากำลังมองหาอยู่ เขาจะแสดงความเห็นใจกับลูกค้ าและตระหนักว่าลูกค้าสำคัญกว่ าผลกำไร เขาจึงจะแนะนำลูกค้าให้ไปดูที่ ร้านของคู่แข่ง "ทำให้คนอื่นในสิ่งที่คุณต้องการให้คนอื่ นทำแก่ท่าน" นี่คือปรัชญาที่ร้านแห่งนี้ยึ ดปฏิบัติ เพราะมันต้องใช้เวลาที่จะได้รั บความไว้วางใจ แต่มันอาจจะหายไปในพริบตา หากเพียงการตัดสินและการกระทำที่ผิดพลาด เฉกเช่นนักไต่เขาเห็นโขดหิ นขนาดใหญ่และหลีกเลี่ยงไปใช้เส้ นทางอื่น แต่อาจจะได้รับบาดเจ็บอย่างรุ นแรงจากการสะดุดบนก้อนหินเล็ก ๆ หรือรากต้นไม้ที่ไม่ได้สังเกต ในทำนองเดียวกันความไม่ รอบคอบของเราในความผิดพลาดเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือการทุจริตเพียงเล็กน้อยที่ ทำอย่างซ้ำซ้อนหลาย ๆ ครั้ง ก็สามารถนำไปสู่ปัญหาใหญ่ได้ เราต้องเตือนตัวเองที่จะไม่เห็ นแก่ความสะดวกสบายเล็กน้ อยโดยการทำผิด มันเป็นสิ่งสำคัญที่จะมีจริ ยธรรมในการให้บริการวิชาชีพ ในขณะเดียวกันก็ยังเป็นสิ่งสำคั ญที่จะช่วยพัฒนาผู้ที่มีส่วนร่ วมในอาชีพ ตัวอย่างหนึ่งในประเทศญี่ปุ่ นเป็นความร่วมมือระหว่างโรตารี และหอการค้าที่ ในเดือนตุลาคมปี 2004 โรแทเรียนท่านหนึ่งซึ่งทำหน้าที ่เป็นประธานสภาหอการค้าได้ริเริ ่มโครงการอาชีพที่สนับสนุ นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมการจ้ างงานและกระตุ้นให้คนหนุ่ มสาวทำงานเพื่อประโยชน์ของสมาชิ กในชุมชน ความคิดนี้ถูกนำขึ้นเสนอรั ฐบาลญี่ปุ่นซึ่งต่อมาได้มีการจั ดตั้งคณะกรรมการเพื่อคิดต่ อยอดและส่งเสริมให้เป็ นโครงการบัตรอาชีพในปี 2007 นับตั้งแต่ก่อตั้งจำนวนของผู้ เข้าร่วมรับการฝึกอบรมทักษะวิ ชาชีพได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หนุ่มสาวกว่า 100,000 คนในประเทศที่ได้รับเกียรติบั ตรจากการฝึกอบรมนี้ ตัวอย่างอื่น ๆ ที่ท่านในฐานะประธานบริการอาชี พจะสามารถนำไปปฏิบัติได้แก่:
- จัดเวลา ๓ - ๕ วันสำหรับนักเรียนโรงเรี
ยนประถมและโรงเรียนมัธยมศึ กษาเพื่อทดลองสวมบทบาทเจ้าของธุ รกิจ (นักธุรกิจเงา) ในสถานประกอบการจริงของสมาชิ กสโมสร โปรแกรมนี้จะมีประสิทธิ ภาพในการแนะนำความสำคั ญของการทำงานและการเรี ยนการสอนให้นักเรียนเข้าใจว่าสั งคมที่ถูกสร้างผ่านเครือข่ ายการประกอบอาชีพต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นโอกาสสำหรั บการให้คำปรึกษาวิชาชีพ การอภิปรายเกี่ยวกับความเป็ นไปได้การจ้างงาน คำแนะนำเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ และการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิ ชาชีพ กิจกรรมเหล่านี้อาจรวมถึงการเชิ ญชวนนักเรียนที่จะเข้าเยี่ ยมชมธุรกิจของโรแทเรียนหรือเข้ าร่วมการประชุมสโมสรและการดำเนิ นการฝึกอบรมและการอภิปรายโต๊ ะกลมตามประเภทอาชีพที่สนใจ - ในระหว่างการประชุมสโมสรสมาชิ
กสามารถแนะนำแบบทดสอบสี่ แนวทางและคำประกาศของโรแทเรี ยนในธุรกิจและวิชาชีพและสนับสนุ นการนำหลักการเหล่านี้ไปสู่ การปฏิบัติ สมาชิกยังสามารถแบ่งปันเรื่ องราวความสำเร็จของพวกเขา รวมถึงบทเรียนความพยายามที่ไม่ ประสบความสำเร็จของพวกเขา - สมาชิกสามารถให้ความเชี่
ยวชาญระดับมืออาชีพและทั กษะของพวกเขาในโครงการบริ การสโมสร มกราคมเป็นเดือนแห่งบริการอาชีพ เป็นเวลาที่เหมาะในการเริ่มต้ นหรือวางแผนโครงการบริการวิชาชี พที่มีความหมาย - ในสถานที่ทำงานของเรา เราสามารถกำหนดและให้
โอกาสในการทำงานสำหรับคนพิ การและเรายังควรจัดกิจกรรมเชิ ดชูเกียรติพนักงานดีเด่นด้วย
เพื่อส่งเสริมการตระหนักถึ งความสำคัญของการให้บริการอาชีพ ภาคต่าง ๆ ในญี่ปุ่นจัดสัมมนาบริการอาชี พที่มีการนำเสนอเกี่ยวกับจริ ยธรรมวิชาชีพ และเหตุการณ์ปัจจุบัน พวกเขายังมีฟอรั่มอาชีวศึกษา เผยแพร่สุนทรพจน์ในการให้บริ การวิชาชีพ และนำเสนอโครงการสโมสรเฉพาะที่ เกี่ยวข้องกับบริการอาชีพ มีรายงานว่าในช่วงเศรษฐกิจตกต่ ำครั้งใหญ่ที่ดำเนินการโดย บริษัทของโรแทเรียนที่ยึดมั่ นในจริยธรรมวิชาชีพสามารถรอดพ้ นการล้มละลายในอัตราที่สูงหรื อเผชิญกับความเสียหายที่รุ นแรงน้อยกว่าเมื่อเทียบกับบริษั ท อื่น ๆ ในความยากลำบากทางเศรษฐกิจในปั จจุบันของเราเป็นโรแทเรียนมี โอกาสมากกว่าใคร ๆ ในการส่งเสริมความคิดของการให้ บริการวิชาชีพ การยึดมั่นปฏิบัติ ตามกฎหมายของเราและการกระทำของเ ราในการส่งเสริมและการปฏิบัติ ตามมาตรฐานทางจริยธรรมระดับสู งในกิจกรรมด้านการบริการอาชี พจะนำไปสู่ความสัมพันธ์ที่ไว้ วางใจได้ในสังคมและชุมชน นี่คือเอกลักษณ์ของการให้บริ การอาชีพของโรตารี เราต้องเน้นอย่างต่อเนื่ องโดยสโมสรและภาคฯ ในความคิดของการให้บริการวิชาชี พที่เป็นเอกลักษณ์ของโรตารีที่ โรแทเรียนทุกคนภูมิใจที่ จะประกาศว่าบริการวิชาชีพเป็นสิ ่งที่ทำให้โรตารีเป็นองค์กรน่ ายกย่อง บริการอาชีพจะเป็นพลังที่ จะนำโรตารีไปสู่อนาคตที่ดีต่อไป ตราบใดที่เรายังคงให้การส่งเสริ ม เน้น และยึดถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
Vocational Service in Practice
Sakuji Tanaka
Speech delivered at 2010 RI Assembly
As all of you know, the mission statement of Rotary International, revised by the RI Board of Directors in June 2007, states that the mission of Rotary International “is to provide service to others, to promote high ethical standards, and to advance world understanding, goodwill, and peace through its fellowship of business, professional, and community leaders.” And the Statement on Vocational Service states: “Vocational Service is the way Rotary fosters and supports the application of the ideal of service in the pursuit of all vocations.”
What is the purpose of human life? Simply put, I believe it is “to be useful to others and society.” The fact that we human beings are able to continue living in societies that developed over the centuries is because of the efforts of our ancestors, parents, families, communities, countries, and people around the world. Then, it is our duty to recognize and appreciate the benefits that we have received from our forebears, to persist in practicing the spirit of the utmost sincerity, and to repay society wholeheartedly. Only with these attitudes can we build better societies for generations that will follow us. Rotarians are fortunate. We are in the position to lead the way in practicing the idea of vocational service that is unique to Rotary. A club member I know once told me that he was able to understand the true meaning of vocation only after he joined Rotary. Prior to joining Rotary, he was focusing all activities on himself: how to improve himself, earn a living, and make money. However, it is different now. Serving society has become his purpose in life and vocation. He now finds joy in making others happy, earning trust through honest business dealings, and furthering efforts to be useful to others through his vocation. We are charged with practicing the ideal of service, manifesting high vocational ethics, and abiding by societal codes in our own actions to promote being ethical to as many people as possible, on all occasions. The best way to be trusted as an individual and as a business is to be “true to our own words,” integrating conviction and action as one, in our personal life, as well as in business. A Rotarian whom I respect greatly has come up with a motto that serves as a constant reminder that will deter him from inadvertently committing an oversight, although he is fully aware of right from wrong. His motto is “Never be negligent, even for a second. Always take the most righteous path.” No money can buy trust, but it can be earned through the actions one takes daily. Fully aware of right from wrong, he nevertheless has been constantly mindful to behave with self-discipline. I would like to give you an example close to me. It was during the oil crisis in 1973. In the business environment where many businesses thought the crisis was a rare opportunity to make big profits, one company instructed its employees to be conscientious and keep profits as before. This policy resulted in the price of the company’s goods being lower than others and attracted hordes of customers. However, considering that the volume of goods is limited and that being fair is the most important value for the company, after gaining customers’ understanding, the company allocated goods to each customer according to their past business dealings. Several months later, the crisis subsided. The company’s emphasis on managing the business with trust rather than seeking short-term profits was greatly appreciated and valued by its customers.
Department stores in Tokyo have many clothing retailers as tenants who compete against one another on the same floor. However, one such store stands alone in its business philosophy. When the store does not carry what the customer desires, it empathizes with the customer, viewing the customer as more important than profit, and introduces the customer to a competitor. “Do unto others what you want others to do unto you” is the ideal that the store practices. Since it takes time to earn trust, which may be lost in a flash, maintaining just judgment and actions is important. Mountain hikers see big rocks and avoid them, but may be severely injured by tripping on unnoticeable small stones or tree roots. Similarly, our imprudence in tiny mistakes or dishonesty, when repeated, can lead to big difficulties. We have to remind ourselves not to take small misgivings with ease. It is important to be ethical in vocational service. At the same time, it is also important to help develop those who engage in vocations. One such example in Japan is the cooperation between Rotary and the chamber of commerce. In October 2004, a Rotarian who served as the chairman of a chamber of commerce initiated a career-support project to improve the employment environment and motivate young people to work and become contributing members in the community. This idea was taken up by the Japanese government, which established a committee to conceptualize and promote the Job Card program in 2007. Since its establishment, the number of participants receiving vocational skills training has increased rapidly; over 100,000 young people in the nation have obtained qualifications. Other examples that all of you, as Vocational Service Chair, can implement include:
- Three- to five-day shadowing programs for middle school and high school students at Rotary club members’ businesses. This program can be effective in introducing the importance of work and teaching students to understand how a society is constructed through various occupations. It also provides opportunities for vocational counseling, discussions on employment possibilities, guidance on interviewing, and information gathering. These activities include inviting students to visit Rotarians’ businesses or club meetings and conducting training sessions and roundtable discussions according to vocations.
- During club meetings, members can recite The Four-Way Test and the Declaration of Rotarians in Businesses and Professions and be encouraged to put these principles into practice. Members also can share their success stories as well as their less successful efforts.
- Members can provide their professional expertise and skills in club service projects. January is Vocational Service Month, an ideal time to start or plan meaningful vocational service projects.
- At our work places, we can identify and provide work opportunities for persons with disabilities, and we can also recognize outstanding employees.
To promote awareness of the importance of vocational service, many districts in Japan hold vocational service seminars that include presentations on vocational ethics and current affairs. They also hold vocational forums, publish speeches on vocational service, and propose specific club projects related to vocational service. It was reported that during the Great Depression, companies operated by Rotarians who held vocational ethics high avoided bankruptcy or faced less severe damages in comparison to other companies. In today’s economic difficulties, we, as Rotarians, have a timely opportunity to promote the idea of vocational service. Our law-abiding behavior and our actions to promote and practice high ethical standards in vocational service activities will lead to trusting relationships. Such is the uniqueness of vocational service. Continuous emphasis by clubs and districts on the idea of vocational service that is unique to Rotary will allow Rotarians to proudly proclaim that vocational service is what makes Rotary attractive. Vocational service will be the force that leads Rotary into the future, as long as we keep on promoting, emphasizing, and practicing its unique features.
No comments:
Post a Comment